Limit search to available items
Book Cover
PRINTED MATL
Title มนุษย์อยุธยา ประวัติศาสตร์สังคม จากข้าวปลา หยูกยา ตำรา Sex / กำพล จำปาพันธ์
Publisher กรุงเทพฯ : มติชน, 2563

LOCATION CALL # STATUS
 SUT General stack อาคารหอสมุดชั้นล่าง  DS578 .ก615 2563    ON SHELVES
 SUT General stack อาคารหอสมุดชั้นล่าง  DS578 .ก615 2563 c.2  ON SHELVES
 SUS Stack 3rd fl.  DS578 ก64    ON SHELVES
Description (10), 326 หน้า : ภาพประกอบ (ภาพสีบางภาพ) ; 22 ซม
Contents ส่องร่างกาย "มนุษย์อยุธยา" ผ่านภาพวาดในประวัติศาสตร์ -- โรคภัยไข้เจ็บกับสังคมวัฒนธรรมสมัยอยุธยา -- "ตำราพระโอสถพระนาราย์" กับ "สังคมเมืองท่านานาชาติ" ในประวัติศาสตร์อยุธยา-อุษาคเนย์ ช่วงคริสต์ศตวรราที่ 17-18 -- ข้าวปลาอาหารและวัฒนธรรมการกินอยู่ของ "มนุษย์อยุธยา" และชาวอุษาคเนย์ -- ผู้หญิง อำนาจ และ sex ในสังคมอยุธยา
Summary เวลาพูดถึงอะไรเก่าๆ ขลังๆ มีความคลาสสิก เรามักจะเห็นคำห้อยท้ายชื่อ อาทิ สายไหมอยุธยา, ก๋วยเตี๋ยวเรืออยุธยา...ทำไม อะไรๆ ที่มันข้องเกี่ยวกับอยุธยา ถึงต้องขรึมขลังศักดิ์สิทธิ์ทุกทีไป แม้แต่ประวัติศาสตร์อยุธยา ก็เป็นประวัติศาสตร์ที่มีแต่ความศักดิ์สิทธิ์ เล่าให้ใครฟังอย่างไรก็มีแต่เรื่องจักรๆ วงศ์ๆ สมเด็จท่านนั้น สมเด็จท่านนี้ เสด็จไปตีเมืองนั้น เสด็จมาตีเมืองนี้ แต่เรื่องประเภทว่า คนอยุธยากินอะไร ขี้ที่ไหน xxxอย่างไร ไม่ค่อยจะมี ถึงมีก็เป็นแต่เรื่องของเจ้าขุนมูลนาย ที่เวลาได้อ่านได้ฟังก็รู้สึกว่าแห้งแล้ง ถ้าเปรียบเป็นภาพยนตร์ก็คงเป็นภาพยนตร์ที่มีแต่ภาพไม่มีเสียง ขาดองค์ประกอบที่สำคัญไปก็คือ "ผู้คน" หรือ "มนุษย์อยุธยา" "มนุษย์อยุธยา ประวัติศาสตร์สังคม จากข้าวปลา หยูกยา ตำรา Sex" เล่มนี้ เป็นผลงานชิ้นล่าสุดของ "กำพล จำปาพันธ์" ที่จะบอกเล่าเรื่องราวธรรมดาๆ ในชีวิตประจำวันของมนุษย์อยุธยาผ่าน รูปร่างทรงผม, อาหารการกิน, หยูกยาและโรคภัย รวมถึงเรื่องเพศ เพื่อปลดเปลืองประวัติศาสตร์อยุธยาออกจากความ "ขลัง" ให้กลายเป็นเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆ ก็อ่านเข้าใจได้ และฉายภาพ มนุษย์อยุธยาให้กลับมามีชีวิตชีวา มีน้ำมีนวลมากกว่าเดิม
Subject ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงศรีอยุธยา, 1893-2310
ไทย -- ความเป็นอยู่และประเพณี -- กรุงศรีอยุธยา, 1893-2310
Paral. Title ประวัติศาสตร์สังคม จากข้าวปลา หยูกยา ตำรา Sex
ISBN 9789740217176

Location

SUP = Petchburi Information Technology Library
SUS = Sanamchandra Palace Library
SUT = Thapra Palace Library