Limit search to available items
Book Cover
PRINTED MATL
Title มุทรา ท่าทาง เครื่องทรง สิ่งของ รูปเคารพในศาสนาพุทธ เชน ฮินดู / เชษฐ์ ติงสัญชลี
Publisher นนทบุรี : มิวเซียมเพรส, 2565

LOCATION CALL # STATUS
 SUT General stack อาคารหอสมุดชั้นล่าง  N8193.2 ช75 2565    ON SHELVES
 SUT General stack อาคารหอสมุดชั้นล่าง  N8193.2 ช75 2565 c.2  ON SHELVES
 SUT General stack อาคารหอสมุดชั้นล่าง  N8193.2 ช75 2565 c.3  ON SHELVES
 SUT General stack อาคารหอสมุดชั้นล่าง  N8193.2 ช75 2565 c.4  ON SHELVES
 SUT General stack อาคารหอสมุดชั้นล่าง  N8193.2 ช75 2565 c.5  ON SHELVES
 SUT General stack อาคารหอสมุดชั้นล่าง  N8193.2 ช75 2565 c.6  ON SHELVES
 SUT General stack อาคารหอสมุดชั้นล่าง  N8193.2 ช75 2565 c.7  ON SHELVES
 SUT General stack อาคารหอสมุดชั้นล่าง  N8193.2 ช75 2565 c.8  ON SHELVES
 SUT General stack อาคารหอสมุดชั้นล่าง  N8193.2 ช75 2565 c.9  ON SHELVES
 SUS Stack 3rd fl.  N8193.2 ช75    ON SHELVES

Description 304 หน้า : ภาพประกอบสี ; 21 ซม.
Contents 1.พระพุทธรูป : สุนทรียภาพ อิริยาบถ อาสนะ -- สุนทรียภาพ -- พระพุทธรูปกับมหาบุรุษลักษณะและ สุนทรียภาพพระวรกาย -- อุษณียะ -- รัศมีและเกตุมาลา -- ประภามณฑลและสีพระวรกาย -- อิริยาบถ -- อิริยาบถของพระพุทธรูป -- อิริยาบถยืน : สมภังค์ ตริภัค์ -- อิริยาบถไสยาสน์ -- อาสนะ -- อาสนะของพระพุทธรูป : ข้อมูลเบื้องต้น
2. มุทราในศิลปะอินเดีย : ข้อมูลเบื้องต้น -- มุทรา : ความรู้เบื้องต้น -- ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับมุทราหลักทั้ง 6 ในศิลปะอินเดีย -- “ระบบคู่มุทรา” ในอินเดียเหนือ-ใต้ -- ตารางสรุปมุทราและอาสนะสำหรับพระพุทธรูปในอินเดียเหนือและใต้ -- ตารางแสดงมุทราสำหรับพระพุทธรูปในอินเดียเหนือและใต้ในสมัยต่าง ๆ -- คำว่า “มุทรา” กับ “ปาง” ต่างกันอย่างไร -- “มุทรากลาง”กับ “มุทราเจาะจงพุทธประวัติ”
3. มุทราพระพุทธรูป : อภัยมุทรา วิตรรกมุทรา วรทมุทรา การจับชายจีวร -- อภัยมุทรา -- อภัยมุทรา: การคุ้มครองให้พ้นภัยตาม “ลัทธิภักดี” -- อภัยมุทราในฐานะ “มุทรากลาง” ในอินเดีย-ลังกา -- “ความหมายใหม่” ของอภัยมุทราในระยะหลัง -- วิตรรกมุทรา : การจับชายจีวร -- ระบบการจับชายจีวรในศิลปะอินเดีย – ลังกา -- จากการจับชายจีวรแบบขนานสู่ มุทราสองพระหัตถ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ -- พระอภัยยืนอภัยมุทรา + จับชายจีวรลงในศิลปะอินเดียเหนือ -- อภัยมุทรา+วรทมุทรา : มุทรากลางในศิลปะจีน-เกาหลี-ญี่ปุ่น -- วรทมุทรา -- ข้อมูลเบื้องต้น-วรทมุทราในอินเดียเหนือ -- วรทมุทรากับการจับชายจีวร “ยกขึ้น” ในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ -- ศิลปะอินเดียใช้วรทมุทรากับตอนเสด็จลงจากดาวดึงส์ -- จาก “วรทมุทรา” สู่ “โลลมุทรา” จุดเริ่มต้น “พระลีลา” สุโขทัย -- วรทมุรากับพระธยานิพุทธพระโพธิสัตว์ และความหมายที่สร้างขึ้นใหม่
4. มุทราพระพุทธรูป : ธยานมุทรา ภูมิสปรรศมุทรา ธรรมจักรมุทรา -- ธยานมุทรา -- ธยานมุทรา : ข้อมูลเบื้องต้น -- “สมาธิ” ในนิกายสุขาวดี ที่มาพระอมตาภะแสดงธยานมุทรา -- ภูมิสปรรศมุทรา -- ความหมายและทฤษฎีเบื้องต้น -- พัฒนาการภูมิสปรรศมุทราจากคันธาระสู่ศิลปะไทย -- มูลเหตุของการเลือกใช้ “พระหัตถ์ขวา” แตะแผ่นดิน -- ภูมิสปรรศมุทรา มุทราประจำพระอักโษภยะ -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใช้ภูมิสปรรศมุทราเป็นมุทรากลาง -- ธรรมจักรมุทรา -- ที่มาและความหมาย -- มุทราปฐมเทศนายุคแรกในคันธาระ -- ธรรมจักรมุทรา : กำเนิดและพัฒนาการ --มุทราที่พัฒนาจากธรรมจักรมุทรา
5. มุทราพระพุทธรูป : มุทราเบ็ดเตล็ด -- สวัสดิกมุทรา : ปางถวายเนตร ปางรำพึง -- มุทราประดิษฐ์ใหม่
6. อาสนะ มุทรา พระชินรูปในศาสนาเชน -- ศาสนาเชน : ข้อมูลเบื้องต้น -- พระวรกายของพระชินรูป -- พระเกศา-อาสนะ-มุทราของพระชินรูป
7. อาสนะ มุทราพระโพธิสัตว์และเทพฮินดู -- อาสนะ พระโพธิสัตว์-เทพฮินดู -- อาสนะ-อิริยาบถของพระโพธิสัตว์และเทพฮินดู : ขัอมูลเบื้องต้น -- ลลิตาสนะ : ท่านั่งอันงดงาม -- มหาราชลีลาสนะ : ท่านั่งของกษัตริย์ -- โยคาสนะ:ท่าทำโยคะ -- วัชราสนะ:ขัดสมาธิเพชร -- อาลีฒะ:ท่าออกสงคราม -- ท่าเต้นรำ -- มุทรา พระโพธิสัตว์-เทพฮินดู -- มุทราของพระโพธิสัตว์และเทพฮินดู : ข้อมูลเบื้องต้น -- อภัยมุทรา-วรทมุทราในประติมากรรมพระโพธิสัตว์-เทพฮินดู -- ดรรชนีมุทรา:ท่าขู่ให้กลัว -- วิตรรกมุทรา:มุทราเทศนา -- ท่าแสดงความเคารพ -- มุทราเบ็ดเตล็ด -- มุทราแตะพระพักตร์:สมาธิ-ความโศกเศร้า -- ธยานมุทรา:ปางสมาธิ
8. “สิ่งของในพระหัตถ์” พระโพธิสัตว์และเทพฮินดู -- ท่าถือสิ่งของ 3 แบบ :แบบธรรมชาติ-กฏกมุทรา-กรรตรีมุทรา -- จักร -- สังข์ -- คทา -- ดาบ-โล่ -- คันธนู-ลูกศร -- แก้วมณี -- ตรีศูล -- เครื่องดนตรี -- บ่วงบาศ -- ดอกบัวในศาสนาฮินดู -- ดอกบัว-ดอกลั่นทมในพุทธศาสนามหายาน -- หม้อน้ำ-ลูกประคำ -- วัชระ-กระดิ่ง -- สิ่งของที่แสดงถึงความดุร้าย -- สิ่งของเบ็ดเตล็ด
9. พระเศียร ประติมากรรม บุคคล พุทธ เชน ฮินดู -- มกุฏ-ชฏา ความหมายทางประติมานวิทยา -- ชฎามกุฏ -- อุษณีษะ-พระเกศาขมวดก้นหอ -- ชฎาภาร -- ตรีจีระ-ปัญจจีระ -- ธัมมิลละ-ทรงผมขมวดม้วน -- ชวาลเกศ -- กิรีฎมกุฎ -- เทริดขนนก -- กรัณฑมกุฎ -- สัญลักษณ์บนพระเศียร
10. เครื่องแต่งกาย พาหนะ บริวาร ประติมากรรม พุทธ เชน ฮินดู -- ยัชโญปวีต -- วนมาลา-มุณฑมาลา -- ผ้าอุตตรียะ-สวรรณไวกากษกะ-กุจพันธะ -- ผ้ากฏิสูตร -- ผ้านุ่งสั้น-ผ้านุ่งยาว-หนังเสือ -- การห่มจีวรเฉียง-การห่มคลุมในพระพุทธรูป -- สีพระวรกาย -- สัตว์พาหนะของทิพยบุคคล -- บริวาร
Summary มุทรา ท่าทาง เครื่องทรง สิ่งของ รูปเคารพในศาสนาพุทธ เชน ฮินดู หนังสือนำเสนอถึงที่มา ความหมาย และองค์​ประกอบสำคัญทางประ​ติมานวิทยา (Iconographic Element) รูปทิพยบุคคลในศิลปะอินเดีย รวมทั้งศิลปะอื่น ๆ ที่ได้รับอิทธิพบจากศิลปะอินเดีย ประกอบด้วยพระพุทธรูปในพุทธศาสนา เทวรูปในศาสนาฮินดู รูปพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน และพระชินรูปหรือรูปของพระตีรถังกรในศาสนาเชน องค์ประกอบทางประติมานวิทยาเหล่านี้ถือเป็นสิ่งสำคัญของการศึกษาด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ
Subject ประติมากรรมพุทธศาสนา
ศิลปกรรมอินเดีย
ประติมานวิทยา
ประติมากรรมศาสนา
ประติมากรรมเชน
ประติมากรรมฮินดู
พระพุทธรูป
รูปเคารพ
พุทธศาสนา
ศาสนาเชน
ศาสนาฮินดู
Alt Title รูปเคารพในศาสนาพุทธ เชน ฮินดู
ISBN 9786167674209

Location

SUP = Petchburi Information Technology Library
SUS = Sanamchandra Palace Library
SUT = Thapra Palace Library