Limit search to available items
Book Cover
PRINTED MATL
Title รู้เรื่องสถูปเจดีย์ / รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง
Publisher นนทบุรี : มิวเซียมเพรส, 2565

LOCATION CALL # STATUS
 SUT General stack อาคารหอสมุดชั้นล่าง  NA6021 .ร73 2565    DUE 07-05-24
 SUT New Books อาคารหอสมุด ชั้นบน  NA6021 .ร73 2565 c.2  DUE 07-05-24
 SUT New Books อาคารหอสมุด ชั้นบน  NA6021 .ร73 2565 c.3  ON SHELVES
Description 360 หน้า : ภาพประกอบสี ; 21 ซม.
Contents บทที่ 1 สถูปเจดีย์ : ที่มา ความหมาย -- สถูปเจดีย์ : ความหมาย -- เจดีย์ 10 องค์แรกในพุทธศาสนา -- สถูป 10 องค์แรก รูปทรง "พูนดิน" -- สถูปทรงเนินดิน 84,000 องค์ ยุคพระเจ้าอโศก
บทที่ 2 พระบรมสารีริกธาตุ : หัวใจของสถูปเจดีย์ -- อรรถกถาแบ่งพระธาตุออกเป็น 2 กลุ่ม -- พระธาตุแบบอัฐิมนุษย์พบที่อินเดีย ประดิษฐานอยู่ที่ภูเขาทอง -- คติธาตุอันตรธานพระธาตุมีอายุ 5,000 ปี -- สร้างเรื่องเล่าพระธาตุเพื่อยืนยันความแท้ -- ปาฏิหาริย์พระธาตุเครื่องแสดงบารมีชนชั้นนำ -- พระธาตุกลางเมือง : ความศักดิ์สิทธิ์และความมั่นคงของรัฐ -- สมัยล้านนา -- สมัยสุโขทัย -- สมัยอยุธยา -- สมัยรัตนโกสินทร์ -- ชื่อเรียกเจดีย์ประจำเมือง : พระบรมธาตุ-พระศรีรัตนมหาธาตุ -- การบรรจุพระบรมสารีริกธาตุในกรุเจดีย์ -- จำนวนพระบรมสารีริกธาตุ -- ภาชนะบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ -- ปรางค์ประธาน วัดมหาธาตุพระนครศรีอยุธยา -- ปรางค์ประธานวัดราชบูรณะ -- เจดีย์ประธานองค์ตะวันออก วัดพระศรีสรรเพชญ์ -- เจดีย์ศรีสุริโยทัย วัดสวนหลวงสบสวรรค์ -- เครื่องธาตุบูชาและสิ่งของอื่นที่บรรจุร่วม -- ทำบุญพระธาตุปรารถนาเกิดในยุคพระศรีอาริย์
บทที่ 3 เจดีย์ในไทย : ความคิด ความหมาย ความเชื่อ -- "ความเชื่อ" เรื่องอานิสงส์ การสร้าง-บูชาเจดีย์ -- อานิสงส์ตามที่ปรากฎในคัมภีร์พุทธศาสนา -- ผลบุญจากการสร้างเจดีย์ : ข้อมูลจากจารึก -- ถวายสิ่งของมีค่าบูชาเจดีย์ -- คติถวายแก้วมณี ที่มา "เม็ดน้ำค้าง-ลูกแก้ว" บนยอดเจดีย์ -- ชนชั้นนำรัฐจารีตถวาย "ข้าทาส-ที่นา" แด่เจดีย์ -- เจดีย์พระอดีตพุทธเจ้าและปูชนียบุคคลในพุทธศาสนาคติการจำลองเจดีย์สำคัญ -- การจำลองพระธาตุเจดีย์คู่บ้านคู่เมือง -- พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช -- พระธาตุหริภุญชัย จังหวัดลำพูน -- พระธาตุพนม จังหวัดนครพนม -- รัชกาลที่ 4 จำลองเจดีย์อยุธยา -- เจดีย์ "ภาพจำลอง" เขาพระสุเมรุ -- ปรางค์ประธานขนาดใหญ่สมัยก่อนกรุงศรีอยุธยาและสมัยอยุธยา -- พระปรางค์วัดอรุณราชวราราม -- คติจำลอง "จุฬามณีเจดีย์" บนโลกมนุษย์ -- ข้อถกเถียง "เจดีย์ยุทธหัตถี" -- เจดีย์ยุทธหัตถีอยู่ที่สุพรรณบุรี -- เจดีย์ยุทธหัตถีอยู่ที่กาญจนบุรี -- เจดีย์ยุทธหัตถีอยู่ที่อยุธยา -- ไม่เคยมีเจดีย์ยุทธหัตถี -- เจดีย์อนุสรณ์แห่งชัยชนะศึกต้นรัตนโกสินทร์ -- "ธรรมยุทธ์" ตำนานแข่งสร้างเจดีย์ แสดงบารมีกษัตริย์ -- แข่งสร้างเจดีย์ หริภุญชัย-ละโว้ -- แข่งสร้างภูเขาทองกับเจดีย์ใหญ่ชัยมงคล -- คติเจดีย์บรรจุอัฐิ -- เจดีย์บรรจุพระอัฐิในตำนานล้านนา -- เจดีย์บรรจุพระอัฐิที่วัดมหาธาตุสุโขทัย -- เจดีย์บรรจุพระอัฐิที่วัดมหาธาตุสุโขทัย -- การบรรจุพระอัฐิสมัยรัตนโกสินทร์ : สุสานหลวงวัดราชบพิธฯ -- "เจดีย์ยานนาวา" พาข้ามสังสารวัฏ คติจากเวสสันดรชาดก -- "เจดีย์นอกวัด" ในฐานะอนุสาวรีย์ -- รัฐชาติก่อกำเนิด "จอมเจดีย์"
บทที่ 4 เจดีย์ในประเทศไทย -- พูนดิน-เรือนซ้อนชั้นที่มารูปทรงเจดีย์ -- พูนดิน : ที่มาเจดีย์ทรงระฆัง -- เรือนซ้อนชั้น : ที่มาเจดีย์ซ้อนชั้น -- เจดีย์ที่ผสมกันระหว่างพูนดินกับเรือนช้อนชั้น -- ผู้อุปถัมภ์ ช่าง พระ แรงงาน : คนเบื้องหลังการสร้างเจดีย์ -- รากฐานและโครงสร้างของเจดีย์ -- เจดีย์สมัยทวารวดี -- "เจดีย์หิน" ร่องรอยเจดีย์ทวารวดีที่เหลืออยู่ -- เจดีย์สำริดบรรจุพระธาตุภาพสะท้อนเจดีย์ทวารวดี -- เจดีย์สมัยศรีวิชัย -- แบบที่ 1 ทรงปราสาท -- แบบที่ 2 ทรงระฆัง (ทรงกลม) -- พระบรมธาตุเมืองนคร "เจดีย์สายลังกา" ยุคหลังศรีวิชัย -- เจดีย์สมัยเขมรในประเทศไทย -- เจดีย์สมัยหริภุญชัย -- เจดีย์ทรงปราสาท -- เจดีย์ทรงปราสาทยอดระฆัง -- เจดีย์สมัยล้านนา -- เจดีย์ทรงปราสาท -- เจดีย์ทรงปราสาทยอดระฆัง -- "กาบบน-กาบล่าง" ลายตกแต่งจากพุกามสู่ล้านนา -- เจดีย์ทรงกลมแบบล้านนา -- เจดีย์ระยะแรก -- เจดีย์แบบมาตรฐาน -- ฐานบัวลูกแก้วอกไก่รูปแบบเด่นของเจดีย์ล้านนา -- ฉัตร-ทองจังโกเอกลักษณ์เจดีย์ล้านนา -- เจดีย์ทรงกลมอิทธิพลสุโขทัย -- เจดีย์แปดเหลี่ยมและสิบสองเหลี่ยม -- กลุ่มที่หนึ่ง : ฐานบัวลูกแก้วอกไก่ -- กลุ่มที่สอง : ฐานบัวถลา -- เจดีย์พม่า -- พระธาตุประจำปีเกิดคติการเมืองเรื่องเจดีย์ -- เจดีย์สมัยสุโขทัย -- เจดีย์ยอดทรงดอกบัวตูม -- ปริศนา ที่มา-ความหมาย "ยอดดอกบัวตูม" -- เจดีย์ทรงกลม -- เจดีย์ช้างล้อม สัญลักษณ์ "พุทธลังกาวงศ์" -- เจดีย์ช้างล้อม : นครศรีธรรมราช -- เจดีย์ช้างล้อม : สุโขทัย -- เจดีย์ช้างล้อม : ล้านนา -- เจดีย์ช้างล้อม : กรุงศรีอยุธยา -- เจดีย์ทรงปราสาทยอดระฆัง -- เจดีย์ทรงปราสาทห้ายอด -- เจดีย์ทรงปราสาทยอดแบบสุโขทัย -- เจดีย์ทรงมณฑป -- เจดีย์สมัยก่อนกรุงศรีอยุธยาในพื้นที่ภาคกลางตอนล่าง -- ปรางค์ที่เมืองลพบุรี -- จำลองมหาธาตุลพบุรีไปสร้างที่วัดจุฬามณี พิษณุโลก "สัญลักษณ์อำนาจ" ของอยุธยา -- เจดีย์ทรงปราสาทยอดผังแปดเหลี่ยมที่สุพรรณบุรี -- เจดีย์สมัยอยุธยา -- ปรางค์ -- สร้างปรางค์ครอบเจดีย์ดอกบัวตูม "สัญลักษณ์อยุธยา" อยู่เหนือสุโขทัย ? -- ปรางค์ "กลีบมะเฟือง" รูปทรงปริศนามาจากไหน ? -- "ฐานสิงห์" ฐานยอดนิยมในปรางค์อยุธยามาจากจีน ? -- เจดีย์ทรงกลม -- "มาลัยเถา" รูปแบบเฉพาะเจดีย์อยุธยามาจากพวงมาลัยล้อมเจดีย์ ? -- ที่มาชื่อเจดีย์ "ทรงลังกา" -- เจดีย์แปดเหลี่ยม -- เจดีย์ทรงปราสาทยอดระฆัง -- เจดีย์ทรงปราสาทยอดระฆังในผังแปดเหลี่ยม -- เจดีย์ทรงปราสาทยอดระฆังในผังสี่เหลี่ยม -- เจดีย์เพิ่มมุม (เจดีย์ย่อมุม) -- กลุ่มที่มีเรือนธาตุ -- กลุ่มที่ไม่มีเรือนธาตุ -- เจดีย์ทรงเครื่อง -- เจดีย์สมัยล้านช้าง -- เจดีย์ทรงบัวเหลี่ยม -- เจดีย์กลุ่มพระธาตุพนม -- พระธาตุพนมตั้งอยู่บน "ทาง 4 แพร่ง" ตามมหาปรินิพพานสูตร -- เจดีย์ทรงปราสาทยอดระฆัง -- เจดีย์ทรงอื่น ๆ -- เจดีย์สมัยรัตนโกสินทร์ -- เจดีย์ยุคต้นกรุง -- ปรางค์ -- เจดีย์กระเบื้องเคลือบ ร.3 มาจากศิลปะจีนแต้จิ๋ว - ฮกเกี้ยน เทคนิค "เชี่ยนจือ" -- เจดีย์ทรงเครื่อง -- "ถะจีน ร.3" เจดีย์หรือวัตถุประดับตกแต่ง ? -- เจดีย์ทรงกลมพระราชนิยมในรัชกาลที่ 4 -- เจดีย์ทรงสันทัด -- เจดีย์ทรงสูงชะลูด -- การถ่ายแบบเจดีย์อยุธยาพระราชนิยมในรัชกาลที่ 4 -- สร้าง "พระปฐมเจดีย์" เป็น "ทรงลังกา" เชื่อมโยงความเก่าแก่ -- เจดีย์สมัยรัชกาลที่ 5-6 -- เจดีย์มอญรัตนโกสินทร์ จำลองชเวดากอง-ชเวมอดอ -- เจดีย์ร่วมสมัย -- บทสรุป
Summary สถูป เจดีย์ถือเป็นปูชนียสถานที่มีคุณค่าทางพุทธศาสนา เมื่อแรกสร้างมีลักษณะเป็นเพียงพูนดินเรียบง่ายเพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุและสิ่งมงคล ๆ เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้สักการบูชา การสร้างเจดีย์ในประเทศไทยเกิดขึ้นมานานกว่าพันปี โดยมีความคิดและความเชื่อที่เปลี่ยนแปลงไปกาลเวลา รูปแบบของเจดีย์มีพัฒนาการที่แตกต่างกันออกไป สะท้อนให้เห็นถึงลักษณะงานช่าง และประวัติศาสตร์ศิลปะในแต่ละยุคสมัย
Subject สถูป -- ไทย
เจดีย์ -- ไทย.
สถาปัตยกรรมพุทธศาสนา
Alt Title รู้เรื่องสถูปเจดีย์ : ที่มา ความหมาย ศิลปกรรม เจดีย์ในประเทศไทยทุกยุคทุกสมัย
ISBN 9786167674216

Location

SUP = Petchburi Information Technology Library
SUS = Sanamchandra Palace Library
SUT = Thapra Palace Library