Limit search to available items
Book Cover
PRINTED MATL
Title ในยุคอวสาน กรุงศรีฯ ไม่เคยเสื่อม / สุเนตร ชุตินธรานท์, บรรณาธิการ
Publisher กรุงเทพฯ : มติชน, 2561

LOCATION CALL # STATUS
 SUT General stack อาคารหอสมุดชั้นล่าง  DS578 .น94 2561    ON SHELVES
 SUT General stack อาคารหอสมุดชั้นล่าง  DS578 .น94 2561 c.2  ON SHELVES
Edition พิมพ์ครั้งที่ 2
Description (15), 405 หน้า : ภาพประกอบสี, ตาราง ; 21 ซม.
Series ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ
Contents สถานะความรู้ประวัติศาสตร์อยุธยาตอนปลาย / ธีระ นุชเปี่ยม, วรพร ภู่พงศ์พันธุ์, วีรวัลย์ งามสันติกุล -- ราชอาณาจักรอยุธยาในโลกาภิวัตน์ระยะแรก : พลวัตของการฑูตไทยสมัยอยุธยาตอนปลายกรณีการติดต่อกับชาติตะวันตก / ภาวรรณ เรืองศิลป์ -- การค้าเครื่องกระเบื้องระหว่างจีน สมัยต้นราชวงศ์ชองกับกรุงศรีอยุธยาสมัยราชวงศ์บ้านพลูหลวง พ.ศ. 2187-2310 / พิมพ์ประไพ พิศาลบุตร ซุน -- ราชประเพณีสมัยอยุธยาตอนปลาย : กรณีศึกษาพระราชพิธีราชาภิเษก / บุหลง ศรีกนก -- ข้อสังเกตุว่าด้วยพัฒนาการทางภาษาและวัฒนธรรมสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายในตำนานมุขปาฐะและวรรณคดีลายลักษณ์ (ฉบับชำระ) / สุมาลี วีระวงศ์ -- ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะและสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาตอนปลายกับศิลปกรรมอินโด-เปอร์เซีย / จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์
Summary หลังจากยุคอวสานกรุงศรีอยุธยา ราชวงศ์บ้านพลูหลวงถูกกล่าวหาว่าเป็นต้นเหตุแห่งความเสื่อมในทุกๆ ด้าน จนเป็นเหตุให้เสียกรุงในที่สุด ราวกับว่าราชวงศ์บ้านพลูหลวงคือ "แพะรับบาป" แห่งประวัติศาสตร์อยุธยาตอนปลายหากแต่เป็นยุคเสื่อมจริง เหตุใดจึงมีหลักฐานที่ว่า...ราชวงศ์บ้านพลูหลวงติดต่อการค้ากับชาวต่างประเทศอยู่ตลอด โดยเฉพาะชาวฮอลันดาและจีน ในด้านวรรณกรรมเค้าโครงเรื่องจากยุคสมัยนี้ถูกนำไปปรับปรุงสู่สมัยรัตนโกสินทร์ รวมไปถึงพระราชพิธีที่สืบทอดต่อไปยังกรุงรัตนโกสินทร์ จนมีการอ้างอิงไปถึงว่าคือสมัยเมื่อครั้ง "บ้านเมืองยังดี" ซึ่งหากเป็นยุคเสื่อมจริง เหตุใดจึงยังมีหลักฐานหลายประการที่สืบต่อไปยังกรุงรัตนโกสินทร์ ยังมีหลักฐานอีกมากภายในเล่ม ที่จะพลิกประวัติศาสตร์อยุธยาตอนปลาย ทำลายมายาคติลวง และประกอบสร้างประวัติศาสตร์ใหม่อีกครั้ง
Subject ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงศรีอยุธยา, 1893-2310
Alt Author สุเนตร ชุตินธรานนท์
ISBN 9789740216209

Location

SUP = Petchburi Information Technology Library
SUS = Sanamchandra Palace Library
SUT = Thapra Palace Library